หลายๆ คนคงอยากรู้ว่าฟันคุดไม่ผ่าได้ไหม ก่อนจะไปดูกันว่าฟันคุดแบบไหนที่เราไม่จำเป็นต้องผ่าออก ลองมาดูเหตุผลที่เราควรผ่าฟันคุดกันก่อนดีกว่า
เกิดถุงน้ำรอบฟันคุด ซึ่งจะทำให้ฟันเคลื่อนผิดไปจากตำแหน่งเเดิม และละลายกระดูกอ่อนรอบฟันที่อาจเป็นอันตรายต่อฟันและเหงือกรอบๆ จนทำให้ฟันผุได้
เกิดฟันซ้อนเกจากการที่ฟันคุดไปดันฟันซี่ข้างเคียง หรือกดบนเส้นประสาทที่อยู่ในขากรรไกรล่าง
ทำไมเราต้องผ่าฟันคุด ฟันคุดไม่ผ่าได้ไหม ?
แปรงฟันได้ตามปกติ เพิ่มความระมัดระวังบริเวณแผล
เครือศิครินทร์ ความยั่งยืนของบริษัท
การผ่าฟันคุดไม่เจ็บอย่างที่คิด เพราะในขั้นตอนการผ่าฟันคุด ทันตแพทย์จะฉีดยาชา หลังผ่าตัดเสร็จก็จะล้างทำความสะอาดแผลและเย็บปิดแผล เเต่คนไช้จะมีอาการปวดบ้างหลังยาชาหมดฤทธิ์ คุณหมอจะให้ยาแก้ปวดเพื่อบรรเทาอาการต่อได้
รวมถึงลักษณะการขึ้นของฟันคุดก็มีอยู่หลายแบบ
แต่ก็ใช่ว่าคนไขข้ทุกคนควรผ่าฟันคุดออก โดยในบทความนี่ เราจะมาดูข้อมูลเพิ่มเติมกัน
ส่วนการตัดสินใจว่าจะใช้วิธีผ่า ถอน หรือสังเกตอาการโดยยังไม่ต้องผ่าฟันคุดนั้น ทั้งหมดนี้ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของทันตแพทย์เป็นหลัก เพราะต้องดูรูปปาก ขากรรไกร ตำแหน่งของฟันคุด รวมถึงอายุของผู้ผ่าอีกครั้งเพื่อเลือกวิธีและลักษณะการผ่าให้เหมาะสมที่สุด ส่วนระหว่างนี้หากใครยังสงสัยว่าฟันคุดไม่ผ่าได้ไหม ฟันคุดแบบไหนไม่ต้องผ่า ก็ต้องดูอาการฟันคุดของตัวเองด้วยเพราะหากฟันคุดเริ่มทำให้ปวด เหงือกบวม ปากมีกลิ่น หรือฟันผุ การตัดสินใจผ่าก็เป็นทางเลือกดีที่สุดค่ะ
ขึ้นผิดตำแหน่งหรือไม่สามารถขึ้นได้
เกร็ดสุขภาพ : ได้รู้กันแล้วว่าฟันคุดแบบไหนไม่ต้องผ่า คราวนี้เราลองมาดูวิธีดูแลตัวเองหากไม่อยากผ่าฟันคุดกันดีกว่า (แต่อย่าลืมว่าใครที่ไม่อยากผ่า ฟันคุดของเราต้องเป็นฟันคุดที่ไม่แสดงอาการหรือเป็นฟันคุดที่ยังโผล่ไม่พ้นเหงือกเท่านั้นนะคะ) เริ่มจากการแปรงฟันหลังอาหาร ตามด้วยการกลั้วคอทุกครั้ง ส่วนไหมขัดฟันให้ใช้ทุกคืนก่อนนอนหรือหลังแปรงฟันในตอนเย็น นอกจากนี้อาจเพิ่มการใช้สมุนไพรเข้ามาด้วย เช่น การดื่มชาเขียว การถูฟันด้วยกานพลู หรือการอมน้ำเกลือในปาก เป็นต้น
อย่าเอาลิ้นไปดุน ดัน หรือดูดแผล เพราะจะทำให้แผลไม่ปิด
จะรู้ได้อย่างไรว่า ต้องถอนฟันคุด หรือผ่าฟันคุด?